วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

งานมอบหมายวันพฤหัสที่ 10 พ.ย. 54

1. ให้นักเรียนจด โปรแกรม การหาร ต่อไปนี้ ให้เรียบร้อย
โปรแกรม หารเลข
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
int main(){
float number1,number2;
float total;
printf("Please Enter Number1 :");
scanf("%f",&number1);
printf("Please Enter Number2 :");
scanf("%f",&number2);
total = number1 / number2;
printf("Result is %10.2f",total);
getch();
}
2. ทำงานที่มอบหมายทุกอย่าง แล้วส่งสมุดไว้ที่ ห้อง 426
3. เขียนในตารางคะแนน วันที่ 10 พย 54 เรื่อง "การเขียนโปรแกรม"

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

โปรแกรมแปลงพื้นที่เป็นหน่วยต่างๆ

ปัญหา : ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมแปลงหน่วยพื้นที่ระบบเมตริกซ์เป็นหน่วยไทย โดยที่
1. 1 ไร่ มีพื้นที่ เท่ากับ 1600 ตารางเมตร
2. 1 งาน มีพื้นที่เท่ากับ 400 ตารางเมตร
3. 1 วา มีพื้นที่เท่ากับ 4 ตารางเมตร
ตัวอย่าง
หน้ากรอกข้อมูล Please Enter Square :> 4745
หน้าผลลัพธ์ Your area is :>> 2 rai And 3 ngan And 86 wa And 1 square meters rest.

โดยกระบวนการแก้ปัญหา มีดังต่อไปนี้
1. วิเคราะห์โจทย์ (Job & Problem Analysis)
input : ค่าของพื้นที่หน่วยเมตริก
process : กระบวนการแปลงค่าหน่วยจากเมตริก เป็น จำนวน ไร่ งาน วา และจำนวนที่เหลือ
output : พื้นที่ที่ถูกแปลงเป็น ไร่ งาน วา และ ตารางเมตร
2. เขียนอัลกอริทึม ซึ่งเราเขียนได้ดังนี้
1) กำหนดตัวแปรรับค่าข้อมูลและแสดงผลข้อมูลได้ดังนี้
1.1) int square_meter = รับค่าพื้นที่หน่วยเมตริก
1.2) int rai = เก็บค่าหน่วยไร่
1.3) int sed_rai = เก็บเศษไร่
1.4) int ngan = เก็บค่าหน่วยงาน
1.5) int sed_ngan = เก็บเศษของงาน
1.6) int wa = เก็บค่าหน่วยวา
1.7) int sed_wa = เศษที่เหลือจาก วา เป็น ตารางเมตริก
2) รับค่าจาก square_meter / 1600 เก็บไว้ใน rai
3) หาเศษที่เหลือจากไร่ โดยนำค่า square_meter - rai*1600 แล้วเก็บเอาไว้ใน sed_rai
4) นำค่าจาก sed_rai / 400 เก็บไว้ใน ngan
5) หาเศษที่เหลือจากงาน โดยนำค่า sed_rai - ngan*400 แล้วเก็บเอาไว้ใน sed_ngan
6) รับค่าจาก sed_ngan / 4 เก็บไว้ใน wa
7) หาเศษที่เหลือจากไร่ โดยนำค่า sed_ngan - wa*4แล้วเก็บเอาไว้ใน sed_wa
8) แสดงผลข้อมูลดังนี้
"Result is >>......rai And ..... ngan And ..... wa And ..... square meters rest "
9) จบการทำงาน

3. เขียนเป็นผังงานได้ดังนี้

หมายเหตุ : นักเรียนที่มองไม่เห็น ให้ขยายภาพไปถึงขั้นที่ 3 จึงจะเห็นชัดเจน เพราะ ภาพซูมได้ 3 ระดับโดยคลิกที่ Show Original (ตำแหน่งล่างซ้ายของภาพ)
4. เขียนเป็นโปรแกรมได้ดังนี้

วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

flow chart โปรแกรมคำนวณเกรด




#include <stdio.h>
#include <conio.h>
main( )
{
int score;
printf("Input score=");
scanf("%d",&score);

if(score>=0&&score<=100) { if(score>=80)
printf("score grade 4",score);

else if(score>=75)
printf("score grade 3.5",score);

else if(score>=70)
printf("score grade 3",score);

else if(score>=65)
printf("score grade 2.5",score);

else if(score>=60)
printf("score grade 2",score);

else if(score>=55)
printf("score grade 1.5",score);

else if(score>=50)
printf("score grade 1",score);

else
printf("score grade 0",score);
}
else
printf("%d error!!!",score);
getch();
}

โปรแกรม หารเลข

#include
#include
int main(){
float number1,number2;
float total;
printf("Please Enter Number1 :");
scanf("%f",&number1);
printf("Please Enter Number2 :");
scanf("%f",&number2);
total = number1 / number2;
printf("Result is %10.2f",total);
getch();

}

วันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

Algorithm และ flowchart





--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 1 ---------------------------------


--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 2 ---------------------------------


--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 3 ---------------------------------



--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 4 ---------------------------------

--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 5 ---------------------------------

--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 6 ---------------------------------


--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 7 ---------------------------------

--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 8 ---------------------------------

--------------------------------- ภาพนิ่งที่ 9 ---------------------------------

วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554

รายวิชา การเขียนโปรแกรม

รายวิชา การเขียนโปรแกรม รหัสวิชา ง 32102

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 40 ชั่วโมง / ภาคเรียน

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการแก้ปัญหา โดยใช้ขั้นตอนดังนี้ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการดำเนินการแก้ปัญหาการตรวจสอบและการปรับปรุง การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบการเขียนโปรแกรม เช่น ซี จาวา ปาสคาล วิชาเบสิค ซีซาร์ป การเขียนโปรแกรมในงานด้านต่างๆ เช่น การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแก้ปัญหาในวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ การสร้างชิ้นงาน การสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี ทำให้ผู้เรียนสามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ง่ายการสร้างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการต้องอาศัยความรู้ที่เกี่ยวข้องอื่นอีก เช่น กลไกและอิเล็กทรอนิกส์การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้ต้องคำนึงถึง หลักการวิเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ เบื้องต้นชิ้นงาน ประกอบด้วย ภาพด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน แสดงขนาด และหน่วยวัด เพื่อนำไปสร้างชิ้นงานความคิดสร้างสรรค์มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด และความคิดละเอียดลออ ความคิดริเริ่ม จะเป็นลักษณะความคิด ที่แปลกใหม่ แตกต่างจากความคิดเดิมความคิดแปลกใหม่ที่ได้ต้องไม่ละเมิดความคิดผู้อื่น หลักการทำงานของหุ่นยนต์ อุปกรณ์ในการประกอบหุ่นยนต์ การเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ การแข่งขันหุ่นยนต์
หน่วยที่ 1
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาไม่ยากอย่างที่คิด
หน่วยที่ 3ICT กับผลงานเชิงสร้างสรรค์
หน่วยที่ 4 สนุกสุขสันต์กับหุ่นยนต์